เกี่ยวกับคณะ | ข่าวสาร | หลักสูตร | วิชาการ | งานวิจัย | กิจกรรมนักศึกษาและศิษย์เก่า | ปฏิทินกิจกรรม
 
Research 
รายชื่องานวิจัย 

งานวิจัยคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน

โครงการวิจัยงบประมาณรายจ่ายจากรายได้หน่วยงาน
ปีงบประมาณ

ชื่อโครงการวิจัย/ผู้วิจัย

2565
  1. Social Mobile Learning with 21st century learning for Thailand Education 4.0 อาจารย์ Sascha Horst Funk
  2. an ordinary us บทบาทของภาพยนตร์สารคดีในการทำความเข้าใจประเด็นเปราะบาง อาจารย์ ดร.มนต์ศักดิ์ ชัยวีระเดช
2564
  1. การผลิตภาพยนตร์กึ่งสารคดี ‘Barn Burner’ (A semi documentary film project ‘Barn Burner’) ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรวาล นิลธำรงค์
  2. การจัดการของสื่อสถาบันที่นำเสนอเนื้อหาประเภทเรื่องจริงที่ไม่เป็นความจริงแท้ (Management of Institutional Media on Inauthentic Truth’s Presentation for Non-Fictional Contents) รองศาสตราจารย์รุจน์ โกมลบุตร
  3. ปัจจัยทีมีผลต่อการแสวงหาข้อมูลข่าวสารออนไลน์ของประชาชนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือโควิด-19 (Online Information Seeking during COVID-19 Pandemic) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา ปัณฑรานุวงศ์
2563
  1. การใช้องค์ประกอบในการออกแบบโฆษณาที่มีประสิทธิภาพเพื่อสื่อความหมายในสื่อนอกบ้าน:โปสเตอร์ของประเทศไทย (The use of effective verbal and visual components in Thai out of home advertising design : poster) รองศาสตราจารย์สมัชชนันท์ เอกปัญญากุล
  2. การนำเสนอข่าวการฆ่าตัวตายในสังคมไทย : ถอดรหัสการสื่อสารผ่านสื่อในยุคดิจิทัล รองศาสตราจารย์ ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว
  3. การศึกษาการสร้างอัตลักษณ์ของลูกโดยพ่อแม่ที่เป็นผู้นำทางความคิดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (The study of child’s Identity formation by parents who are online Influencers) อาจารย์พรรณวดี ประยงค์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์กานตชาติ เรืองรัตนอัมพร
  4. การสื่อสารทางการเมืองในเฟซบุ๊กแฟนเพจ ไข่แมวx (Political Communication in Khaimeaw x Facebook Fanpage) ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.นันทพร วงษ์เชษฐา
  5. การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ของกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทย (Strategic Communication of Social Enterprise in Thailand) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พีรยุทธ โอรพันธ์
  6. ระดับความรู้เท่าทันสื่อประเภทข่าวการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประชาชนในกรุงเทพมหานคร อาจารย์ ดร.ดวงแก้ว เธียรสวัสดิ์กิจ
2562
  1. ความผูกพันกับองค์กรของพนักงานสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิทัล  (Employee Engagment in Digital Television Stations)
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โมไนยพล รณเวช
  2. Parasocial Interaction via Social Media: Social Media Motivation and Parasocial Interaction Predicting Engagement
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิกานดา พรสกุลวานิช, อาจารย์ถมทอง ทองนอก
  3. การสื่อสารของผู้ปกครองเพื่อกำกับดูแลพฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ตามมุมมองของบุตรหลาน กับพฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ของวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร รองศาสตราจารย์นฤมล ปิ่นโต
  4. “แนวทางการบรรยาย ‘การขึ้นข้อความชื่อบุคคล’ ในรายการสารคดีสำหรับการผลิตเสียงบรรยายภาพ” รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริมิตร ประพันธ์ธุรกิจ
  5. กลวิธีการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ของผู้บริหารในยุคดิจิทัล ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัญรินทร์ อมรอิสริยาชัย
  6. News Room Alert: การตรวจสอบข่าวปลอมของห้องข่าวไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิไลวรรณ จงวิไลเกษม
2561
  1.  การสร้างสารคดีขนาดยาวเรื่อง "บูชา" (working title) Feature Length       Documentary film Projct : Worship
    อาจารย์อุรุพงศ์ รักษาสัตย์
  2. การวิเคราะห์ตระกูลรายการท่องเที่ยวทางโทรทัศน์   A Genre Analysis of Travel Programmes on Television
    รองศาสตราจารย์ ดร.สมสุข หินวิมาน 
  3. การประกอบสร้างภาพตัวแทนกลุ่มประเทศอาเซียนจากการ์ตูนชุดท่องโลกอาเซียนชุดแบบเรียนสังคมศึกษาและแบบเรียนอาเซียน ระดับชั้นประถมศึกษา 1-6 หลักสูตร พ.ศ.2551 (Construction and Representation ASEAN Community by Cartoon Series “ASEAN Discovery”, Social study’s and ASEAN Textbooks in Primary School)
    ผู้ช่วยศาสตาจารย์ ดร.พรรษา รอดอาตม์
  4. การรวบรวมหลักฐานและการพัฒนาฐานข้อมูลของตำนานภัยพิบัติในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย (Documenting and archiving the Upper-northern Thai disaster-lore in the digital database)   
    อาจารย์ ดร.เซ็นโจ นะไก
  5. บทบาทของสื่อสถาบันในการรายงานเหตุการณ์การกู้ภัยนักฟุตบอลเยาวชนและผู้ฝึกสอน ทีมหมูป่าอะคาเดมีติดในถ้ำวนอุทยานถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน จังหวัดเชียงราย
    รองศาสตราจารย์รุจน์ โกมลบุตร
2560
  1. การลดทอนและรื้อความเป็นตะวันตกด้านการสื่อสารศึกษา : การสำรวจและการวิเคราะห์
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์พยุรี ชาญณรงค์
  2. กระบวนการแสวงหาข้อมูลข่าวสารและการใช้ประโยชน์จากเว็บไซต์โซเชียลเน็ตเวิร์คเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของแม่: กรณีศึกษาเฟซบุ๊กแฟนเพจ "สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ"
    อาจารย์พรรณวดี ประยงค์
  3. การสื่อสารของการโต้แย้งการเมืองภาคประชาชนในประเทศไทย ระหว่าง 31 ตุลาคม 2556 - 22 พฤษภาคม 2557
    อาจารย์ ดร.นันทพร วงษ์เชษฐา
2559
  1. การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมของคนพิการทางการเห็นในฐานะผู้ผลิตเสียงบรรยายภาพ (The participatory communication of visually impaired people as audio description maker on TV. )
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริมิตร ประพันธ์ธุรกิจ
  2. งานสร้างสรรค์เรื่อง การถ่ายภาพเล่าเรื่องแบบ Narrative Tableaux Staged Photography
    อาจารย์วารี ฉัตรอุดมผล
  3. ความคาดหวังและแนวโน้มพฤติกรรมการชมภาพยนตร์ไทยของผู้สูงวัยในเขตกรุงเทพมหานคร (Attitude,Expectation and Behavior Trend toward Thai film among Elderly People in Bangkok)
    รองศาสตราจารย์ปัทมา สุวรรณภักดี, รองศาสตราจารย์แอนนา จุมพลเสถียร
  4. ผลกระทบของแหล่งข่าวที่ถูกสื่อมวลชนละเมิดสิทธิ์
    รองศาสตราจารย์รุจน์ โกมลบุตร
  5. การเปิดรับสื่อ ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการยอมรับ การติดตั้งเสาสัญญาณโทรศัพท์มือถือของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
    รองศาสตราจารย์กิติมา สุรสนธิ
  6. การศึกษาประโยชน์และข้อควรคำนึงในการประยุกต์ใช้แนวทางภาพถ่ายร่วมสมัยกับงานสารคดีในไทย
    อาจารย์กานตชาติ เรืองรัตนอัมพร
  7. บทบาทการบันทึกสังคมของภาพยนตร์ไทย ตั้งแต่ปี 2555-2560 ;การประกอบสร้างรูปแบบการดำเนินชีวิตของวัยทำงานตอนต้นในภาพยนตร์ไทย
    อาจารย์อนงค์นาฏ รัศมีเวียงชัย
2558
  1. วัฒนธรรมทางการเมืองและการสื่อสารทางการเมืองของชาวไทยเชื้อสายมลายูในประเทศมาเลเซีย
    อาจารย์ ดร.พีรยุทธ โอรพันธ์
  2. การใช้ภาพโฆษณาแบบเหนือจริงเพื่อสื่อความหมายในแคมเปญสื่อสิ่งพิมพ์โฆษณาของไทย
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมัชชนันท์ เอกปัญญากุล
  3. การศึกษาผลของการเลือกเปิดรับข่าวสารต่อความสนใจ ความผูกพัน และการมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านสื่อสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ค (Facebook) และ ทวิตเตอร์ (Twitter)
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉรา ปัณฑรานุวงศ์
  4. การออกฉายและการจัดจำหน่ายภาพยนตร์อิสระเรื่อง วานิชชิ่ง พอยท์ (Theatrical Release and Distribution for an independence film "Vanishing Point")
    อาจารย์จักรวาล นิลธำรงค์
  5. การติดเว็บไซต์เครือข่ายสังคม : บทบาทของบุคลิกลักษณะ ทัศนคติ อิทธิพลทางสังคมและการสนับสนุนทางสังคมออนไลน์ (Addiction to Social Networking Sites : The Role of Personality Traits, Attitudes, and Social Influences on Online Social Support)
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิกานดา พรสกุลวานิช
2557
  1. การนำเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวกับประเทศไทยที่ปรากฏในหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ กรณีศึกษาหนังสือพิมพ์สิงค์โปร์
    อาจารย์เกศราพร ทองพุ่มพฤกษา
  2. นาฏศิลป์ : สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่วัฒนธรรมไทยในเวทีประชาคมอาเซียน
    อาจารย์ญาณิศา บุญประสิทธิ์
  3. การศึกษาหลักในการผลิตสื่อคำบรรยายเป็นเสียงในรายการโทรทัศน์สำหรับคนพิการทางสายตา
    อาจารย์อารดา ครุจิต
  4. การวิจัยถอดบทเรียนหลักการเขียนบทสื่อคำบรรยายเป็นเสียงรายการอาหารทางโทรทัศน์เพื่อคนพิการทางสายตา
    อาจารย์กุลนารี เสือโรจน์
  5. สื่อคำบรรยายเป็นเสียงในรายการโทรทัศน์ที่ผู้พิการทางการเห็นในเขตกรุงเทพมหานครต้องการ
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทธีรา สารากรบริรักษ์
  6. การวิเคราะห์อัตลักษณ์ความเป็นชาติและความเป็นภูมิภาคของกลุ่มประเทศอาเซียน ศึกษากรณีเฟซบุ๊กแฟนเพจ ASEAN Community Facebook Fanpage
    อาจารย์มนต์ศักดิ์ ชัยวีระเดช
  7. การนำเสนอเนื้อหาวัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอาเซียนในรายการประเภทไม่ใช่เรื่องแต่งบนหน้าจอโทรทัศน์ไทย
    อาจารย์พรชัย ฉันต์วิเศษลักษณ์
  8. พัฒนาการและแนวทางในอนาคตของอุตสาหกรรมโฆษณาในประเทศไทย
    รองศาสตราจารย์แอนนา จุมพลเสถียร
  9. ความเป็นไปได้ในการก่อตัวขององค์กรข่าว ASEAN NEWS NETWORK : มุมมองของประเทศไทย
    รองศาสตราจารย์อรนุช เลิศจรรยารักษ์
  10. การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์แบบมัลติทาสกิ้งและแบบมัลติแพลทฟอร์ม เพื่อการแสวงหาข้อมูลข่าวสาร และการมีส่วนร่วมของผู้ใช้
    รองศาสตราจารย์วงหทัย ตันชีวะวงศ์
  11. การนำเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวกับประเทศไทยที่ปรากฏในหนังสือพิมพ์ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ศึกษากรณี “หนังสือพิมพ์ประชาชน”
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุจน์ โกมลบุตร
  12. การสำรวจสภาพการณ์การสื่อสาร พ.ศ.2556 เพื่อการกำหนดนโยบายการสื่อสารในภาวะน้ำท่วม
    รองศาสตราจารย์กิติมา สุรสนธิ
  13. งานวิจัยสร้างสรรค์ด้านการถ่ายทำภาพยนตร์ด้วยเทคนิคพิเศษ (A creative research in visual effect of movie making process)
    อาจารย์จักรวาล นิลธำรงค์
2556
  1. แนวทางการกำหนดนโยบายการสื่อสารในภาวะน้ำท่วมของประเทศไทย
    รองศาสตราจารย์กิติมา สุรสนธิ
  2. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรื่องการถ่ายภาพ ระดับปริญญาตรี คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    นายเสกสรร อามาตย์มนตรี
  3. การรับรู้ความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในงานประกันคุณภาพ
    อาจารย์ ดร.พีรยุทธ์ โอรพันธุ์ และคณะ
  4. การรู้เท่าทันสื่อโฆษณาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาในโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร
    อาจารย์อนงค์นาฏ รัศมีเวียงชัย
  5. โครงการสุขภาพดีมีสุข
    อาจารย์กานตชาติ เรืองรัตนอัมพร
2555
  1. การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชนไทย
    รองศาสตราจารย์กิติมา สุรสนธิ
  2. การศึกษาแนวทางการสื่อสารโฆษณาของนักเขียนข้อความโฆษณาในการพัฒนากลยุทธ์การสร้างสรรค์โฆษณา
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์วนิดา  ตันนาภัย
  3. การใช้โมบายแอพพลิเคชั่นและคุณลักษณะของสื่อโมบายอินเทอร์แอคทีฟแบบจอสัมผัส
    รองศาสตราจารย์ วงหทัย ตันชีวะวงศ์
  4. การสื่อสารการเมืองผ่านเว็บไซต์เครือข่ายทางสังคมเฟซบุ๊คของวัยรุ่นไทย
    อาจารย์ กุลนารี เสือโรจน์
  5. บทบาทและแนวโน้มของการสื่อสารเชิงบูรณาการในองค์กร
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา ปัณฑรานุวงศ์
  6. การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคสื่อและการเรียนรู้ทักษะด้านการเท่าทันสื่อของเยาวชนในเขตปทุมธานี
    รองศาสตราจารย์ กัลยกร วรกุลลัฎฐานีย์
  7. การศึกษาความตระหนักและความรู้ของผู้สอน เรื่อง “เท่าทันสื่อ” ของเยาวชนในจังหวัดปทุมธานี
    อาจารย์ประไพพิศ มุทิตาเจริญ
  8. การวิเคราะห์เนื้อหาการสื่อสารผ่านเฟสบุ๊ค (facebook) ขององค์กรภาครัฐ
    อาจารย์ ดวงแก้ว เธียรสวัสดิ์กิจ
  9. วิทยุกับการกระตุ้นจินตนาการของเด็ก
    รองศาสตราจารย์ อรนุช เลิศจรรยารักษ์
  10. พฤติกรรมการเปิดรับและความคาดหวังของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อภาพยนตร์สารคดี
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปัทมา สุวรรณภักดี
  11. กระบวนการผลิตและเผยแพร่ภาพยนตร์อิสระ เรื่อง “จุดนำสายตา”
    อาจารย์ จักรวาล นิลธำรงค์
  12. เรื่องเล่าข่าวหน้าหนึ่ง วาทกรรมในข่าวอาชญากรรม
    อาจารย์ ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว
  13. การสำรวจความพึงพอใจ ความต้องการ ความคิดเห็นต่อการบริการทางการเงินของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน
    นางสาวธนิฏฐาพร จันทรินทร์
2554
  1. ความประหม่าในการสื่อสารกับการเลือกกลุ่มวิชาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทางด้านวารสารศาสตรืและสื่อสารมวลชน : กรณีศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วนิดา ตันนาภัย และ
    รองศาสตราจารย์ ดร. สุชารัช ริมกีรติกุล
  2. การศึกษาเปรียบเทียบการบริโภคสื่อ การรับรู้ความเสี่ยง และปรัชญาชีวิตของวัยรุ่นกับผู้สูงวัย ในเขตกรุงเทพมหานคร
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ บุนนาค
  3. การศึกษากระบวนการผลิตและเผยแพร่ภาพยนตร์อิสระเรื่อง “จุดนำสายตา”
    อาจารย์ จักรวาล นิลธำรงค์
  4. สถานภาพของการวิจัยเชิงปริมาณในการแสวงหาความรู้ทางการสื่อสาร
    อาจารย์ ดร.โมไนยพล รณเวช
2553
  1. กระบวนทัศน์ยุทธศาสตร์การจัดการการสื่อสารการตลาด เพื่อสร้างสรรค์กระแสชาตินิยมในธุรกิจภาพยนตร์ไทยสู่สังคมอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชวนะ ภวกานันท์
  2. พฤติกรรมการอ่านและติดตามข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ไทยของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    อาจารย์แก้วกาญจน์ จูเจริญ
  3. การบริหารหนังสือพิมพ์ “ลานนาโพสต์” : ข้อเสนอต่อการปฏิรูปหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุจน์ โกมลบุตร
  4. การวิเคราะห์เนื้อหาทางเพศและความรุนแรงและการใช้ภาษาในรายการโทรทัศน์ระดับเรตติ้งประเภท “ท ทุกวัย” : รายการทั่วไปเหมาะสำหรับผู้ชมทุกวัย
    อาจารย์อารดา ครุจิต
  5. แบบแผนการฟังวิทยุในรถยนต์ส่วนบุคคลของคนกรุงเทพฯ
    อาจารย์ภัทธีรา สารากรบริรักษ์
  6. การรับรู้ของผู้บริหารและบุคลากรที่มีต่อแนวคิดเรื่องการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม
    อาจารย์ประไพพิศ มุทิตาเจริญ และ
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์แอนนา จุมพลเสถียร
  7. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมของนักศึกษาธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ระดับปริญญาตรี เกี่ยวกับพื้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
    อาจารย์ ดร.ศิริมิตร ประพันธ์ธุรกิจ
2552
  1. การบริหารจัดการระบบการสื่อสารและข้อมูลข่าวสารเพื่อการมีส่วนร่วมผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร
    รองศาสตราจารย์อรนุช เลิศจรรยารักษ์
  2. เหตุผลในการซื้อและไม่ซื้อ เฮ้าส์แบรนด์ (House Brand) ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพและปริมณฑล
    ผู้ช่วยศาสตรจารย์วงหทัย ตันชีวะวงศ์
  3. ประวัติศาสตร์และบทบาทของหนังสือพิมพ์ไทยที่มีต่อสังคมจากอดีตสู่ปัจจุบัน
    อาจารย์ ดร.พจนา ธูปแก้ว
  4. การเปิดรับสื่อมวลชนความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมทางการเมืองกับความรักชาติ
    รองศาสตราจารย์กิติมา สุรสนธิ
  5. การวางแผนการสื่อสารเพื่อสร้างตราสินค้าที่มีพลัง : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์วนิดา ตันนาภัย
2551
  1. สถานการณ์ในทางวิชาชีพของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุจน์ โกมลบุตร
  2. การรับรู้ พฤติกรรม ที่มีต่อจิตสำนึกสาธารณะ และความคิดเห็นด้านเครื่องมือสื่อสารการตลาดเพื่อสร้างเสริมจิตสำนึกสาธารณะของกลุ่มวัยทำงาน
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์แอนนา จุมพลเสถียร
  3. การรับรู้ พฤติกรรมที่มีต่อ “จิตสำนึกสาธารณะ” และการสื่อสารการตลาดที่มีประสิทธิผลต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวกับจิตสำนึกสาธารณะของเยาวชน
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยกร วรกุลลัฎฐานีย์
  4. การวิจัยสำรวจผู้ฟังวิทยุธรรมศาสตร์ เพื่อทำหน้าที่วิทยุชุมชนในอนาคต
    รองศาสตราจารย์ดวงทิพย์ วรพันธุ์
  5. การนำเสนอภาพข่าวหน้า 1 หนังสือพิมพ์รายวัน
    อาจารย์ ดร.อนุชา ทีรคานนท์
  6. การศึกษางานวิจัยระดับวิทยานิพนธ์และโครงการเฉพาะบุคคลด้านภาพยนตร์ของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรรณี สำราญเวทย์
  7. การวิเคราะห์เนื้อหาหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น พ.ศ. 2548-2549
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์เจตน์ศักดิ์ แสงสิงแก้ว
2550
  1. สื่อโฆษณาปฏิสัมพันธ์: เครื่องมือใหม่ในวงการโฆษณา
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรจิต สมบัติพานิช
  2. เครือข่ายการสื่อสารกับการรับรู้ข้อมูลข่าวสารราชการของชนชาวพม่าในกรุงเทพมหานคร
    รองศาสตราจารย์กิติมา สุรสนธิ
  3. การศึกษาการเปิดรับข่าวสารจาก “สื่อ” และความรู้ของนักศึกษาต่อการสร้างจิตสำนึกในการป้องกันอันตรายจากยาเสพติดตามแนวยุทธศาสตร์ชาติ
    รองศาสตราจารย์บำรุง สุขพรรณ์
  4. การรับรู้และปฏิกิริยาตอบกลับต่อสินค้าและแบรนด์หรู
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ บุนนาค
  5. ทฤษฎีการสื่อสารในองค์กร: พัฒนาการและแนวโน้มในยุคสื่อใหม่
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์พยุรี ชาญณรงค์
2549
  1. ศึกษาการนำเสนอข่าวและสาระน่ารู้ตามแนวยุทธศาสตร์ การพัฒนาสังคมแก้ไขปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตทางสถานีวิทยุกระจาย เสียงของสำนักประชาสัมพันธ์เขตกรมประชาสัมพันธ์
    รองศาสตราจารย์บำรุง สุขพรรณ
  2. การปฏิสัมพันธ์ทางสังคมผ่านสื่อดิจิตอลของคนวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร ศึกษาเฉพาะ อินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์เคลื่อนที่
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์วงหทัย ตันชีวะวงศ์
  3. การแทรกแซงสื่อสาธารณะของรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ประจำปี 2548
    อาจารย์รุจน์ โกมลบุตร 2548
  4. ความคิดเห็นและการยอมรับของวัยรุ่นที่มีต่อจุดเร้าใจทางเพศในงานโฆษณา
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์แอนนา จุมพลเสถียร  และ 
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยกร วรกุลลัฎฐานีย์
2548
  1. การประยุกต์ใช้ความรู้จากหลักสูตรของสาขาภาพยนตร์ของบัณฑิตวิชาเอกภาพยนตร์
    รองศาสตราจารย์จำเริญลักษณ์ ธนะวังน้อย
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรรณี สำราญเวทย์
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปัทมา สุวรรณภักดี
  2. 50 ปี โทรทัศน์ไทย
    รองศาสตราจารย์ดวงทิพย์ วรพันธุ์
  3. สถานภาพและข้อมูลจำเพาะของหนังสือพิมพ์และนิตยสารในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    อาจารย์ ดร.พจนา ธูปแก้ว
  4. การศึกษาสัมฤทธิ์ผลหลักสูตรวารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการสื่อสารภาครัฐและเอกชนคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    รองศาสตราจารย์ ดร.พรทิพย์ พิมลสินธุ์
  5. พัฒนาการของการประชาสัมพันธ์ในยุคสังคมความรู้
    รองศาสตราจารย์ ดร.พรทิพย์ พิมลสินธุ์
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิยรัตน์ อ่องลออ
  6. การบริหารจัดการหลักสูตรปริญญาเอกด้านการสื่อสารของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
    รองศาสตราจารย์ ดร.สุรัตน์ เมธีกุล
2547
  1. ศึกษารูปแบบการบริหารและการจัดรายการวิทยุชุมชน เพื่อเสริมสร้างกระบวนการพัฒนาที่ยั่งยืน
    รองศาสตราจารย์บำรุง สุขพรรณ์
  2. สังคมข่าวสาร สื่อ และการพัฒนาการสื่อสารในอนาคต
    รองศาสตราจารย์อรนุช เลิศจรรยารักษ์
  3. บทบาทงานประชาสัมพันธ์ในยุคสังคมความรู้
    รองศาสตราจารย์ ดร.พรทิพย์ พิมลสินธุ์
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนัญญา เชรษฐา
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิยรัตน์ อ่องลอออาจารย์ปัทมา อุ่นพิพัฒน์
    อาจารย์ประไพพิศ มุทิตาเจริญ
  4. การรับรู้ ความรู้สึกและพฤติกรรมของวัยรุ่นที่มีต่อ “งานโฆษณาที่ไม่เหมาะสม”
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แอนนา จุมพลเสถียรอาจารย์กัลยกร วรกุลลัฎฐานีย์
  5. การนำเสนอเนื้อหาในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐและมติชน เรื่องข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยประจำปี 2547 รั่ว
    อาจารย์รุจน์ โกมลบุตร